ทีมประดาน้ำดูโครงสร้าง ‘เรือรัตนโกสินทร์’ ก่อนสำรวจเรือหลวงสุโขทัย

© สนับสนุนโดย เดลินิวส์

เมื่อวันที่ 26 ธ.ค. ผู้สื่อข่าวรายงานว่า ที่ท่าเรือแหลมเทียน อ.สัตหีบ จ.ชลบุรี น.อ.พงษ์ศักดิ์ รามนุช ผอ.กองประดาน้ำ และถอดทำลายอมภัณฑ์ กรมสรรพาวุธทหารเรือ ส่งกำลังพลนักประดาน้ำที่ต้องเดินทางไปสำรวจเรือหลวงสุโขทัย ที่อับปางจมอยู่ใต้ทะเลในระดับน้ำลึก 50 เมตร เพื่อวางแผนและศึกษาดูงานโครงสร้างฯ ภายในเรือหลวงรัตนโกสินทร์ เนื่องจากเรือดังกล่าวเปรียบเสมือนเป็นคู่แฝด เพราะมีโครงสร้างเดียวกับเรือหลวงสุโขทัย

© สนับสนุนโดย เดลินิวส์ © สนับสนุนโดย เดลินิวส์ © สนับสนุนโดย เดลินิวส์ © สนับสนุนโดย เดลินิวส์

เบื้องต้นจึงได้ให้ทีมกองประดาน้ำ ได้มีโอกาสเห็นโครงสร้างฯของลำเรือจริงๆอย่างละเอียดทั้งภายในและภายนอก เนื่องจากจุดเรือหลวงสุโขทัย จมทะเลใกล้ อ.บางสะพาน จ.ประจวบคีรีขันธ์ มีระดับความลึก 50 เมตร อีกทั้งยังคงมีคลื่นใต้น้ำ ทำให้น้ำทะเลขุ่นมัว ทัศนวิสัยมองเห็นเรือหลวงสุโขทัยไม่ชัด.

© สนับสนุนโดย เดลินิวส์ © สนับสนุนโดย เดลินิวส์ © สนับสนุนโดย เดลินิวส์

Microsoft และคู่ค้าอาจได้รับค่าคอมมิชชันหากคุณซื้อบางสิ่งผ่านลิงก์ที่แนะนำในบทความนี้

อำเภอ สัตหีบ

อำเภอ สัตหีบ

ช่วงประมาณรัชกาลที่ 5 และรัชกาลที่ 6 สัตหีบเป็นเพียงหมู่บ้านชายทะเล ชาวบ้านประกอบอาชีพทำไร่ ทำนา หาของป่า และประมง การคมนาคมจะใช้ทางน้ำโดยเรือเมล์หรือเรือใบ ส่วนทางบกมีแต่ทางเกวียน ถนนไปชลบุรียังไม่มี ภูมิประเทศส่วนใหญ่ยังเป็นป่ารกทึบ การเดินทางระหว่างเมืองจึงใช้เรือเป็นหลัก ในหมู่บ้านสัตหีบ มีผู้ที่ชาวบ้านนับหน้าถือตามากอยู่คนหนึ่ง ชาวบ้านเรียกว่า "ยายแจง" แกมีฐานะดีมี ที่ดิน เรือ สวน ไร่นามากมาย ตลาดสัตหีบ หนองตะเคียนและโรงเรียนสิงห์สมุทรรวมถึงบริเวณเขาแหลมเทียนอันเป็นที่ตั้งของฐานทัพเรือสัตหีบในปัจจุบันก็เคยเป็นของแก ต่อมา เมื่อกรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ทรงฝึกภาคทะเลกับกองเรือและทรงพักที่อ่าวสัตหีบ ทรงเห็นว่าอ่าวสัตหีบเหมาะเป็นที่ตั้งหน่วยเรือ เพราะมีเกาะใหญ่น้อยช่วยกำบังคลื่นลม พระองค์จึงได้บอกถึงพระประสงค์ที่จะใช้บริเวณเขาแหลมเทียนเป็นที่ตั้งหน่วยทหารเรือ ยายแจงก็ยินดีที่จะถวายให้

ข่าว ที่เกี่ยวข้อง

Recommended

Welcome Back!

Login to your account below

Retrieve your password

Please enter your username or email address to reset your password.